The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM...

18
The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid By Aj. Komsan Kiriwongwattana

Transcript of The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM...

Page 1: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid

By

Aj. Komsan Kiriwongwattana

Page 2: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดใหมีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหวาง ละติจูดที่ 84 องศาเหนือถึงละติจูดที่ 80 องศาใต สวนที่อยูขั้วโลกซึ่งอยูนอกเขตครอบคลุมของ UTM จะใชระบบ UPS (Universal Polar Stereographic Grid) ทําการแบงโซนของกริดจากกระดับโลกลงไปสูระดับประเทศ การแบงอาณาเขตกริดทําไดโยการแบงโซนกริด การกําหนดเลขอักษรประจําโซนของกริด และการแบงจตุรัสตั้งแตแสนเมตรยอยลงไปจนถึงระดับจุตรัสพันเมตร

Page 3: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด แบงโซนของกริดเปนทั้งหมด 60 โซน โซนละ 6 องศา ครอบคลุม 360 องศา เริ่มแบงจาก 180 องศาตะวันตกไปจนถึง 180 องศาตะวันออก โดยกําหนดให โซน 180 องศาตะวันตกเปนโซนที่ 1 และเรื่อยไปจนถึง 180 องศาตะวันออก ครบ 60 โซน ในแตละโซนจะมีเสนเมอริเดียนยานกลาง 1 เสนเสมอ เชน โซนที่ 1 จะมีเสน เมอริเดียนยานกลางที่ 177 องศาตะวันตก ซึ่งเสนเมอริเดียนยานกลางจะตัดกับเสนอีเควเตอรเปนมุมฉากเสมอ

Page 4: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด จุดที่เสนเมอริเดียนยานกลางตัดกับเสนอีเควเตอรจะเรียกจุดนั้นวา “จุดศูนยกําเนิดของโซน (Origin)” ดังนั้นจุดศูนยกําเนิดจึงมีทั้งหมด 60 จุด สําหรับซีกโลกเหนือ จุดศูนยกําเนิดของแตละโซนถูกกําหนดใหมีคาพิกัดในแนวทิศเหนือ (Northing) เปน 0 เมตร สําหรับซีกโลกเหนือ จุดศูนยกําเนิดของแตละโซนถูกกําหนดใหมีพิกัดในแนวทิศตะวันออก (Easting) โดยมีระยะหางจะศุนยกําเนิดสมมุตเิปนระยะทาง 500,000 เมตร ไปทางตะวันออกของจุดศุนยสมมุติ

Page 5: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

จากรูปจะเห็นวา คาพิกัดที่ 0 เหนือและ 500,000 ตะวันออก จะหมายความวาจุดนั้นอยูหางจากศูนยกําเนิดสมมุติไปทางตะวันออกเปนระยะทาง 500,000 เมตร

Page 6: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

Page 7: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

Page 8: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ความแตกตางของแผนที่บริเวณจุดเหลือมของโซน 47 และ 48

แผนที่ระวางที่ 5339I ลําดับชุด L7018 จ.นครราชสีมาโซน 47N

Page 9: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ความแตกตางของแผนที่บริเวณจุดเหลือมของโซน 47 และ 48

Page 10: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด นอกจากการแบงโซนตามแนวลองจิจูดเปน 60 โซนแลว ยังตองแบงโซนตามแนวละติจูดดวย แบงโซนละ 8 องศา จาก อีเควเตอรไปจนถึง 72 องศาเหนือและจาก 72 องศาเหนือถึง 84 องศาเหนือ ซ่ึงในโซนนี้ (72-84 องศาเหนือ) มีระยะ 12 องศา ทั้งหมดแบงตามแนวละติจุดไดทั้งหมด 20 โซน และจากการแบงดซนตามแนวละติจูดและลองจิจูดดังกลาวจะทําใหไดตารางกริด 6x8 องศา เมื่อแบงโซนตามแนวละติจูดและลองจิจูดแลว ใชตัวอักษรโรมันกํากับประจําโซน โดยเริ่มจาก C ถึง X ยกเวน I และ O สวน A, B, Y, Z ใหใชสําหรับ UPS บริเวณขั้วโลกทั้ง 2 ดาน

Page 11: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด การเรียกชื่อตารางกริด ใหเรียกตัวเลขประจําเขตกริดในแนวลองจิจูดกอนแลวตามดวยตัวอักษรประจําเขตกริดในแนวละติจูด การอานใหอานจากซายไปขวาและอานจากลางขึ้นบน (Read, Right - Up) ยกตัวอยางประเทศไทย อยูในเขตกริดตามแนวลองจิจูดคือ โซนที่ 47 และ 48 และอยุในเขตกริดตามแนวละติจูดโซน N, P, Q การอานเขตกริดจึงเปน 47N, 47P, 47Q หรือ 48N, 48P, 48Q เปนตน

Page 12: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การแบงจตุรัส 100,000 เมตร จนถึงจตุรัส 1000 เมตร จากการกาํหนดกริดโซนตามที่ไดกลาวมาแลวขางตน จะไดพื้นที่รูปสีเ่หลีย่มผนืผาขนาด 6x8 องศา ซึ่งจะถุกนํามทาแบงยอยออกเปนพื้นทีส่ี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 100,000 ตารางเมตร ตอไป การแบงจรุัส 100,000 เมตร น้ีจะแบงทีละโซน แตะละโซนจะไมเกีย่วของกัน การแบงจะทําการแบงจากเสนเมอริเดียนยานกลางออกไปทั้งดานซายและขวา จากการแบงจากเสนเมอริเดยีนยานกลางดังกลาว จะสามารถแบงไดประมาณ 6 ชอง (ดานซาย 3 ชองและดานขวา 3 ชอง) โดยประมาณ ที่แนวเมอริเดียนกลางจะถุกกาํหนดใหมีคาเทากบั 500,000 เมตร ดังนั้นคาพิกัดที่อยูทางตะวันตกของเสนเมอริเดยีนกลางจะมีคาพิกดันอยกวา 500,000 เมตร และคาพิกัดทางทิศตะวันออกของเสนเมอริเดยีนกลางจะมีคาพิกดัมากกวา 500,000

Page 13: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การแบงจตุรัส 100,000 เมตร จนถึงจตุรัส 1000 เมตร ใชตัวอักษรสําหรับกํากับจตุรัส 100,000 เมตร โดยในแนวแกน X (แนวนอน) จะใชตัวอักษรตั้งแต A-Z ยกเวน I และ O สวนในแนวแกน Y (แนวตั้ง) จะใชตัวอักษรตั้งแต A-V ยกเวน I และ O การกําหนดตัวอักษรกํากับจตุรัส 100,000 เมตรในแนวแกน X จะใชตัวอักษรซ้ํากันทุก ๆ 3 โซนหรือทุก ๆ 18 องศา การกําหนดตัวอักษรกํากับจตุรัส 100,000 เมตรในแนวแกน Y จะใชตัวอักษรซ้ํากันทุก ๆ 2,000,000 เมตร

Page 14: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ตัวอยางจตุรัส 6x8 องศาและการแบงจตุรัส 100,000 เมตร

ตัวอยางการกําหนดตัวอักษรประจําจตุรัส 100,000 เมตร ใน 1 โซน UTM

Page 15: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

ตัวอยางจตุรัส 00,000 เมตร ในประเทศไทย

ตัวอยางจตุรัส 100,000 เมตรที่ 47NPH5240068400 ซึ่งมีความหมายวาจตุรัสดังกลาวอยูโซนที่ 47 ตามแนวลองจิจูดและอยูโซน N ตามแนวละติจูดอยุในจตุรัส 100,000 เมตร ที่ PH และมีค่ําพิกัดเทากับ X = 652400 และ Y = 768400

Page 16: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การบอกระยะที่แคบกวา 100,000 เมตร การบอกระยะที่แคบกวา 100,000 เมตร คือการบอกระยะที่จตุรัส 10,000 เมตร จตุรัส 1,000 เมตร และจตุรัส 100 เมตร แผนที่ L7018 จะมีระบบเสนกริดที่บอกคาจตุรัส 1000 เมตร โดยหนึ่งชองตารางกริดจะมีเนื้อท่ีเทากับ 1 ตารางกิโลเมตร ในแผนที่ L7018 จะสามารถบอกระยะไดละเอียดถึงจตุรัส 100 เมตร

Page 17: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การอานคากริดจตุรัส 10,000 เมตร

Page 18: The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดให มีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหว

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดคาพิกัดในแผนที่ชุด L7018 การบอกคาพิกัดในแผนที่ฉบับนี้จะบอกเปนตัวเลข 2 ชุด คือ ตัวเลขกํากับระยะที่หางจากจุดศุนยกําเนิดสมมุติ (แกน X) และระยะที่หางจากจุดศูนยสมมุติไปทางทิศเหนือ (แกน Y) ตัวอยางเชน 407122 E 2014525 N มีความหมายวาระยะหางจากศุนยกําเนิดของโซนไปทางตะวันออกของ (Easting) เปนระยะทาง 407122 เมตร และหางจากศุนยกําเนิดของโซนไปทางทิศเหนือเปนระยะทาง 2014525 เมตร เปนตน