บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา ·...

Post on 27-May-2020

5 views 0 download

Transcript of บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันา ·...

บทท่ี 3 ทฤษฎีและแนวคิดในการพฒันาบคุลิกภาพเพ่ืองานประชาสมัพนัธ ์

และการส่ือสารองคก์ร

อาจารยเ์รวดี ไวยวาสนา

◘ มุมมองของทฤษฎีและแนวคิดท่ีเก่ียวกับ บคุลิกภาพ ◘

แบง่ออกเป็น 3 กลุ่ม 1. มมุมองด้านจิตวิเคราะห ์

2. มมุมองด้านลกัษณะนิสยั

3. มมุมองด้านมนุษยนิยม

◘ กลุ่มท่ี 1 มุมมองด้านจิตวิเคราะห์ ◘ (Psychoanalytic Perspective)

สาระส าคญัโดยรวม 1. ประสบการณ์ในอดีตส่งผลต่อบุคลิกภาพและพฤติกรรม

ในปัจจบุนัและอนาคต 2. บุคลิกภาพของมนุษยมี์พฒันาการ อย่างต่อเน่ืองเป็น

ล าดบัขัน้ ต้องผ่านช่วงพฒันาการท่ีเรียกว่าช่วงวิกฤติอย่างสมบรูณ์

3. อธิบายพฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนจากปกติได้ชดัเจนกว่าแนวคิดอ่ืน ๆ

4.ให้ความส าคัญกับสัมพนัธภาพเชิงสังคม วัฒนธรรม พนัธกุรรมในการหล่อหลอมบคุลิกภาพของบคุคล

ซิกมนัด ์ฟรอยด ์(Sigmund Freud) แบ่งระดับการท างานของจิต (Levels of Consciousness)

1. จิตส านึก (Conscious) รู้ตวัว่าก าลงัท าอะไร เหน็และได้ยินอะไร

2. จิตก่อนส านึก (Preconscious) เป็นสภาวะจิตของบุคคลท่ีเกบ็สะสมประสบการณ์บางอย่างไว้ เป็นส่วนของเรือ่งราวในอดีต

3. จิตไรส้ านึก (Unconscious) เป็นสภาวะของจิตท่ีมีอยู่ แต่บคุคลไม่รูว่้ามี เพราะว่า ไม่รูสึ้กตวั ระลึกไม่ได้

1) Id เป็นพลงังานติดตวัมนุษยม์าตัง้แต่เกิด รวมถึงสญัชาตญาณ

2) Ego เป็นพลงัแห่งการรูแ้ละเข้าใจ

3) Superego เป็นพลงัท่ีเกิดจากการเรียนรู้ เป็นส่วนหน่ึงของค่านิยมต่าง ๆ จะคอยหักห้ามความรนุแรงของพลงั Id

โครงสร้างของบคุลิกภาพ (Structures of the Personality)

ฟรอยดแ์บ่งขัน้พฒันาการของร่างกายและอารมณ์ โดยขึ้นอยู่กบัความต้องการทางเพศ ออกเป็น 5 ขัน้ ดงัน้ี

1. ขัน้แสวงหาความสุขจากอวยัวะปาก (Oral Stage) แรกเกิด-18 เดือน

2. ขัน้แสวงหาความสขุจากอวยัวะทวารหนัก (Anal Stage) 18 เดือน-3ขวบ

ขัน้ตอนพฒันาการบคุลิกภาพ (Stages of Psychosexual Development)

3. ขัน้แสวงหาความสุขจากอวยัวะเพศ (Phallic Stage) หากเป็นเด็กผู้ชายจะมีพฤติกรรมแบบ Oedipus Complex คือ มีจิตผกูพนักบัแม่จะกลวัพ่อ ส่วนเดก็ผู้หญิงจะมีพฤติกรรมแบบ Electra Complex คือ จะเกิดความรกัผกูพนักบัพ่อมากกว่าแม่ (3-6 ขวบ)

4. ขัน้แฝง (Latency Stage) เดก็จะ สนใจต่อสติปัญญา พฒันาการด้านสงัคม (6-11 ขวบ)

5. ขัน้สนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) 12-20 ปี

ประเดน็ส าคญั

บุคคลใดพฒันาไปตามขัน้ตอนดงักล่าวด้ ว ย ดี บุ ค ค ล นั้น จ ะ มี พัฒน า ก า ร ท า งบุคลิกภาพท่ีสมบูรณ์ หากพัฒนาการไม่สมบู ร ณ์ก็จ ะ เ กิ ดสภาวะ “ ติด ข้ อ งอยู่ ” ( fixation) ซ่ึ ง มี ผ ล ต่ อ พัฒ น า ก า ร ด้ า นบคุลิกภาพในแง่ลบ

คารล์ กสุตาฟ จงุ (Carl Gustav Jung)

จุงได้จ าแนกประเภทบุคลิกภาพของคน ตามลกัษณะการด าเนินชีวิตเป็น 2 ประเภท คือ

1) บคุลิกภาพแบบเปิดเผย (Extravert)

2) บคุลิกภาพแบบเกบ็ตวั (Introvert)

ภายหลัง ไ ด้ เ พ่ิมบุค ลิกภาพแบบกลาง ๆ (Ambivert) เป็นอีกประเภทหน่ึง

1. ชอบท างานเงียบ ๆ คนเดียวถ้าผิดพลาดจะโทษตวัเองไปจนถึงส่ิงแวดล้อม

2. วิตกกงัวลกบัเร่ืองไม่เป็นเร่ือง 3. สนใจข่าวลือ 4. ชอบวิพากษ์วิจารณ์คนอ่ืน 5. ชอบเขียนมากกว่าพดู 6. ชอบนัง่เฉย ๆ คนเดียว 7. ชอบค ายอ ชมเชย 8. ถือตนเป็นศนูยก์ลาง

ประเภทเกบ็ตวั (Introvert)

1. ถือคนส่วนใหญ่เป็นศนูยก์ลาง ไปไหนไปกนั 2. ชอบท างานเป็นกลุ่ม 3. คิดและท าตามหลกัความจริง 4. ไม่สนใจตวัเองมากนัก

5. เป็นคนทนัสมยั พร้อมจะเปล่ียนตวัเอง

6. อารมณ์ดี สนุกสนาน ไม่เกลียด ไม่รกัใครง่าย ๆ 7. ท าอะไรจริงจงั ถ้าพลาดจะไม่โวยวาย ไม่โทษ

ตวัเอง / ใคร ๆ 8. ไม่ชอบนึกถึงอดีต 9. ชอบหยอกล้อ

ประเภทเปิดเผย /แสดงตวั (Extravert)

อลัเฟรด แอดเลอร ์ (Alfred Adler) คนเรามีปมด้อยมาแต่ก าเนิด การมีชีวิตอยู่ต้องอาศยั

คนอ่ืนช่วยประคบัประคอง รู้สึกว่าตวัเองมีข้อบกพร่องจึงต้องด้ินรนแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพ่ือลบล้างปมด้อยของตน

บคุลิกภาพของมนุษย ์ มีดงัน้ี 1) ความปรารถนามีปมเด่น

2) ปมด้อย

3) อิทธิพลของพ่อแม่ในวยัเดก็ และการเล้ียงด ู

ลูกคนโต ลกูคนรอง ลกูคนเลก็ ลูกคนเดียว

คาเรน ฮอรน์าย (Karen Horney)

แบง่บคุลิกภาพของคนออกเป็น 3 ประเภท

1) บุคลิกภาพแบบยอมท าตาม มกัไม่ค่อยเห็นคุณค่าและความสามารถของตวัเอง

2) บุคลิกภาพแบบก้าวร้าว มกัจะบ้าอ านาจ ต้องการการยอมรบัจากสงัคมและอยากประสบความส าเรจ็

3) บุคลิกภาพแบบเหินห่าง มกัชอบอยู่คนเดียว ปรบัตวัโดยวิธีหนีปัญหามากกว่าท่ีจะเผชิญ

◘กลุ่มท่ี 2 มุมมองด้านลกัษณะนิสยั ◘ (Trait Perspective)

แบง่บคุลิกภาพเป็น 3 ลกัษณะ 1. Cardinal Trait (ลกัษณะนิสยัท่ีโดดเด่น)

2. Central Trait (ลกัษณะนิสยัรว่ม)

3. Secondary Trait (ลกัษณะนิสยัทุติยภมิู)

กอรด์อน อลัลพ์อรท์ (Gordon Allport)

อธิบายบคุลิกภาพของคนออกเป็น 2 มิติใหญ่ ดงัน้ี

1) Extraversion / Introversion แสดงตวั / เกบ็ตวั

2) Stability / Neuroticism ความมัน่คงทางอารมณ์ / เจ้าอารมณ์

ฮนัส ์ไอแซงค ์(Hans Eysenck)

อา้งจาก จากหนงัสือ จิตวทิยาอุตสาหกรรม ร.ศ.อ านวย แสงสวา่ง แฮนด ์ ไอเซงค ์ (Hans Eysenck)

หวัน่ไหว

มัน่คง

เกบ็ตวั เปิดเผย

โมโหง่าย กระวนกระวายใจ

กา้วร้าว

ต่ืนเตน้

เปล่ียนแปลงง่าย

ใจร้อน

มองโลกในแง่ดี คล่องตวั

ชอบสงัคม

ผูน้ า

มีชีวติชีวา

ไร้กงัวล

หงุดหงิด กงัวลใจ

แขง็กร้าว เคร่งขรึม

มองโลกในแง่ร้าย ไม่พดูมาก ไม่สงัคม

เงียบ

วางเฉย มีความระมดัระวงั

มีความคิด รักสนัติ

ควบคุมตนเองได ้เช่ือถือได ้

สงบ STABLE

UNSTABLE

EXTROVERTED INTROVERTED

◘กลุ่มท่ี 3 มุมมองด้านมนุษยนิยม ◘ (Humanistic Perspective)

สาระส าคญัโดยรวม

1. แนวคิดกลุ่มน้ีมองบคุลิกภาพอย่างเป็นองคร์วม

2. บุคลิกภาพของมนุษย์คือการเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึน้ตลอดเวลา

3. บุคลิกภาพของบุคคลเป็นผลมาจากการท่ีบุคคลรบัรูจ้ากส่ิงแวดล้อมรอบตวั

4.มนุษยจ์ะดีหรือเลวขึน้อยู่กบัปัจจยัทางส่ิงแวดล้อม มากกว่าปัจจยัทางพนัธกุรรม

อบัราฮมั มาสโลว ์ (Abraham Maslow) ทฤษฎีล าดบัขัน้แรงจงูใจ (Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation) มีทัง้หมด 5 ขัน้ตอน

1) ความต้องการทางกายภาพ (Physiological Needs)

2) ความต้องการความมัน่คงปลอดภยั (Safety Needs)

3) ความต้องการความรกัและการเป็นเจ้าของ

(Belonging and Love Needs)

4) ความต้องการความเคารพนับถือ (Esteem Needs)

5) ความสมบรูณ์ของชีวิต

(Needs for Self Actualization)

คารล์ โรเจอร ์(Carl Rogers) ทฤษฎีตัวตน (Self theory) มองว่ามนุษย์ทุกคนมีตัวตน

3 แบบ ได้แก่

1) ตนท่ีตนมองเหน็ (Self Concept)

2) ตนตามท่ีเป็นจริง (Real Self)

3) ตนตามอดุมคติ (Ideal Self)

Self-concept = อตัมโนภาพ / ความนึกคิดเก่ียวกบัตนเอง

The end