The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM...

Post on 30-May-2020

78 views 0 download

Transcript of The Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid · The Universal Transverse Mercator Grid: UTM...

The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid

By

Aj. Komsan Kiriwongwattana

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

The Universal Transverse Mercator Grid: UTM Grid UTM กําหนดใหมีเขตกริดครอบคลุมพื้นที่ระหวาง ละติจูดที่ 84 องศาเหนือถึงละติจูดที่ 80 องศาใต สวนที่อยูขั้วโลกซึ่งอยูนอกเขตครอบคลุมของ UTM จะใชระบบ UPS (Universal Polar Stereographic Grid) ทําการแบงโซนของกริดจากกระดับโลกลงไปสูระดับประเทศ การแบงอาณาเขตกริดทําไดโยการแบงโซนกริด การกําหนดเลขอักษรประจําโซนของกริด และการแบงจตุรัสตั้งแตแสนเมตรยอยลงไปจนถึงระดับจุตรัสพันเมตร

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด แบงโซนของกริดเปนทั้งหมด 60 โซน โซนละ 6 องศา ครอบคลุม 360 องศา เริ่มแบงจาก 180 องศาตะวันตกไปจนถึง 180 องศาตะวันออก โดยกําหนดให โซน 180 องศาตะวันตกเปนโซนที่ 1 และเรื่อยไปจนถึง 180 องศาตะวันออก ครบ 60 โซน ในแตละโซนจะมีเสนเมอริเดียนยานกลาง 1 เสนเสมอ เชน โซนที่ 1 จะมีเสน เมอริเดียนยานกลางที่ 177 องศาตะวันตก ซึ่งเสนเมอริเดียนยานกลางจะตัดกับเสนอีเควเตอรเปนมุมฉากเสมอ

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด จุดที่เสนเมอริเดียนยานกลางตัดกับเสนอีเควเตอรจะเรียกจุดนั้นวา “จุดศูนยกําเนิดของโซน (Origin)” ดังนั้นจุดศูนยกําเนิดจึงมีทั้งหมด 60 จุด สําหรับซีกโลกเหนือ จุดศูนยกําเนิดของแตละโซนถูกกําหนดใหมีคาพิกัดในแนวทิศเหนือ (Northing) เปน 0 เมตร สําหรับซีกโลกเหนือ จุดศูนยกําเนิดของแตละโซนถูกกําหนดใหมีพิกัดในแนวทิศตะวันออก (Easting) โดยมีระยะหางจะศุนยกําเนิดสมมุตเิปนระยะทาง 500,000 เมตร ไปทางตะวันออกของจุดศุนยสมมุติ

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

จากรูปจะเห็นวา คาพิกัดที่ 0 เหนือและ 500,000 ตะวันออก จะหมายความวาจุดนั้นอยูหางจากศูนยกําเนิดสมมุติไปทางตะวันออกเปนระยะทาง 500,000 เมตร

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ความแตกตางของแผนที่บริเวณจุดเหลือมของโซน 47 และ 48

แผนที่ระวางที่ 5339I ลําดับชุด L7018 จ.นครราชสีมาโซน 47N

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ความแตกตางของแผนที่บริเวณจุดเหลือมของโซน 47 และ 48

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด นอกจากการแบงโซนตามแนวลองจิจูดเปน 60 โซนแลว ยังตองแบงโซนตามแนวละติจูดดวย แบงโซนละ 8 องศา จาก อีเควเตอรไปจนถึง 72 องศาเหนือและจาก 72 องศาเหนือถึง 84 องศาเหนือ ซ่ึงในโซนนี้ (72-84 องศาเหนือ) มีระยะ 12 องศา ทั้งหมดแบงตามแนวละติจุดไดทั้งหมด 20 โซน และจากการแบงดซนตามแนวละติจูดและลองจิจูดดังกลาวจะทําใหไดตารางกริด 6x8 องศา เมื่อแบงโซนตามแนวละติจูดและลองจิจูดแลว ใชตัวอักษรโรมันกํากับประจําโซน โดยเริ่มจาก C ถึง X ยกเวน I และ O สวน A, B, Y, Z ใหใชสําหรับ UPS บริเวณขั้วโลกทั้ง 2 ดาน

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดโซนของกริด การเรียกชื่อตารางกริด ใหเรียกตัวเลขประจําเขตกริดในแนวลองจิจูดกอนแลวตามดวยตัวอักษรประจําเขตกริดในแนวละติจูด การอานใหอานจากซายไปขวาและอานจากลางขึ้นบน (Read, Right - Up) ยกตัวอยางประเทศไทย อยูในเขตกริดตามแนวลองจิจูดคือ โซนที่ 47 และ 48 และอยุในเขตกริดตามแนวละติจูดโซน N, P, Q การอานเขตกริดจึงเปน 47N, 47P, 47Q หรือ 48N, 48P, 48Q เปนตน

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การแบงจตุรัส 100,000 เมตร จนถึงจตุรัส 1000 เมตร จากการกาํหนดกริดโซนตามที่ไดกลาวมาแลวขางตน จะไดพื้นที่รูปสีเ่หลีย่มผนืผาขนาด 6x8 องศา ซึ่งจะถุกนํามทาแบงยอยออกเปนพื้นทีส่ี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 100,000 ตารางเมตร ตอไป การแบงจรุัส 100,000 เมตร น้ีจะแบงทีละโซน แตะละโซนจะไมเกีย่วของกัน การแบงจะทําการแบงจากเสนเมอริเดียนยานกลางออกไปทั้งดานซายและขวา จากการแบงจากเสนเมอริเดยีนยานกลางดังกลาว จะสามารถแบงไดประมาณ 6 ชอง (ดานซาย 3 ชองและดานขวา 3 ชอง) โดยประมาณ ที่แนวเมอริเดียนกลางจะถุกกาํหนดใหมีคาเทากบั 500,000 เมตร ดังนั้นคาพิกัดที่อยูทางตะวันตกของเสนเมอริเดยีนกลางจะมีคาพิกดันอยกวา 500,000 เมตร และคาพิกัดทางทิศตะวันออกของเสนเมอริเดยีนกลางจะมีคาพิกดัมากกวา 500,000

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การแบงจตุรัส 100,000 เมตร จนถึงจตุรัส 1000 เมตร ใชตัวอักษรสําหรับกํากับจตุรัส 100,000 เมตร โดยในแนวแกน X (แนวนอน) จะใชตัวอักษรตั้งแต A-Z ยกเวน I และ O สวนในแนวแกน Y (แนวตั้ง) จะใชตัวอักษรตั้งแต A-V ยกเวน I และ O การกําหนดตัวอักษรกํากับจตุรัส 100,000 เมตรในแนวแกน X จะใชตัวอักษรซ้ํากันทุก ๆ 3 โซนหรือทุก ๆ 18 องศา การกําหนดตัวอักษรกํากับจตุรัส 100,000 เมตรในแนวแกน Y จะใชตัวอักษรซ้ํากันทุก ๆ 2,000,000 เมตร

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

ตัวอยางจตุรัส 6x8 องศาและการแบงจตุรัส 100,000 เมตร

ตัวอยางการกําหนดตัวอักษรประจําจตุรัส 100,000 เมตร ใน 1 โซน UTM

ตัวอยางจตุรัส 00,000 เมตร ในประเทศไทย

ตัวอยางจตุรัส 100,000 เมตรที่ 47NPH5240068400 ซึ่งมีความหมายวาจตุรัสดังกลาวอยูโซนที่ 47 ตามแนวลองจิจูดและอยูโซน N ตามแนวละติจูดอยุในจตุรัส 100,000 เมตร ที่ PH และมีค่ําพิกัดเทากับ X = 652400 และ Y = 768400

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การบอกระยะที่แคบกวา 100,000 เมตร การบอกระยะที่แคบกวา 100,000 เมตร คือการบอกระยะที่จตุรัส 10,000 เมตร จตุรัส 1,000 เมตร และจตุรัส 100 เมตร แผนที่ L7018 จะมีระบบเสนกริดที่บอกคาจตุรัส 1000 เมตร โดยหนึ่งชองตารางกริดจะมีเนื้อท่ีเทากับ 1 ตารางกิโลเมตร ในแผนที่ L7018 จะสามารถบอกระยะไดละเอียดถึงจตุรัส 100 เมตร

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การอานคากริดจตุรัส 10,000 เมตร

การกําหนดตําแหนงดวยระบบพิกัดกริดในแผนที่ชุด L7018

การกําหนดคาพิกัดในแผนที่ชุด L7018 การบอกคาพิกัดในแผนที่ฉบับนี้จะบอกเปนตัวเลข 2 ชุด คือ ตัวเลขกํากับระยะที่หางจากจุดศุนยกําเนิดสมมุติ (แกน X) และระยะที่หางจากจุดศูนยสมมุติไปทางทิศเหนือ (แกน Y) ตัวอยางเชน 407122 E 2014525 N มีความหมายวาระยะหางจากศุนยกําเนิดของโซนไปทางตะวันออกของ (Easting) เปนระยะทาง 407122 เมตร และหางจากศุนยกําเนิดของโซนไปทางทิศเหนือเปนระยะทาง 2014525 เมตร เปนตน